บาคาร่าเว็บตรง กทม. มีมติให้ ผู้สูงอายุจองฉีดวัคซีน กับโรงพยาบาลเอกชน 100 แห่ง

บาคาร่าเว็บตรง กทม. มีมติให้ ผู้สูงอายุจองฉีดวัคซีน กับโรงพยาบาลเอกชน 100 แห่ง

บาคาร่าเว็บตรง กทม. มีมติให้ ผู้สูงอายุจองฉีดวัคซีน กับโรงพยาบาลเอกชน 100 แห่ง หลัง กทม. เผชิญปัญหาจัดวัคซีนคลาดเคลื่อนจนทำให้วัคซีนไม่พอ พล.ต.ท.โสภณ พิสุทธิวงษ์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้เข้าร่วมหารือในฐานะ ประธานการประชุมคณะอนุกรรมการการบริหารจัดการการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 10/2564

สืบเนื่องจากสถานการณ์วัคซีนของประเทศไทยที่ได้รับจากบริษัทผู้ผลิตวัคซีนคลาดเคลื่อนจากที่คาดหมาย 

ส่งผลให้กรุงเทพฯได้รับจัดสรรวัคซีนไม่เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ ที่ประชุมคณะอนุกรรมการการบริหารจัดการการให้วัคซีนฯ จึงมีมติเห็นชอบตามมติการประชุมของที่ประชุมคณะทำงานด้านการให้บริการวัคซีน ฝึกอบรม และกำกับติดตาม ซึ่งได้มีการประชุมไปเมื่อวันที่ 12 มิ.ย. ที่ผ่านมาโดยให้จัดลำดับความสำคัญของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในรอบระยะเดือน มิ.ย. 64 ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นวัคซีน AstraZeneca โดยมีลำดับ ดังนี้

1. ผู้ที่เคยได้รับการฉีดวัคซีน AstraZeneca เข็มที่ 1

2. ผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วย 7 กลุ่มโรคซึ่งได้จองรับวัคซีนในโรงพยาบาลต่างๆ และโรงพยาบาลได้นำรายชื่อเข้าสู่ระบบ MOPH -IC เรียบร้อยแล้ว

3. บุคลากรทางการแพทย์ที่เหลือตกค้างยังไม่ได้รับการฉีดวัคซีน

4. ประชาชนทั่วไปจองเข้ารับการฉีดวัคซีนที่หน่วยความร่วมมือฯ ทั้ง 25หน่วย ตามโครงการไทยร่วมใจ “กรุงเทพฯ ปลอดภัย” ที่ได้ลงทะเบียนไว้แล้ว

นอกจากนี้ที่ประชุมคณะอนุกรรมการการบริหารจัดการการให้วัคซีนฯ พิจารณาเห็นว่า ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงหากได้รับเชื้อโควิด-19 จึงควรได้รับการฉีดวัคซีนเป็นลำดับต้นๆ แต่เนื่องจากผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยยังไม่ได้จองเข้ารับการฉีดวัคซีนในระบบหมอพร้อมซึ่งปิดรับการจองไปแล้วนั้น

ที่ประชุมจึงมีมติให้โรงพยาบาลต่างๆ ในพื้นที่กรุงเทพฯ ทั้งในส่วนของกรุงเทพฯ กองทัพ ตำรวจ มหาวิทยาลัย โรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ที่ร่วมให้บริการฉีดวัคซีนโควิด-19 รวมกว่า 100 แห่ง ทั่วกรุงเทพฯ เปิดรับจองการเข้ารับการฉีดวัคซีนเฉพาะในส่วนของผู้สูงอายุ และให้จัดลำดับก่อน-หลัง ตามวัน เวลา ที่ยื่นแสดงความประสงค์รับการฉีดวัคซีน ส่วนกำหนดเข้ารับการฉีดวัคซีนนั้น โรงพยาบาลจะเป็นผู้นัดหมายและแจ้งให้ผู้แสดงความประสงค์ทราบต่อไป

วัคซีน ChulaCov19 ตัวแรกของไทย เริ่มทดลองฉีดในคนแล้ว

ชาวไทยได้เฮ หลังจากที่วัคซีน ChulaCov19 วัคซีนโควิดตัวแรกของไทย เริ่มทดลองกับมนุษย์แล้ว โดยเริ่มจากผู้มีสุขภาพที่ดีในระยะที่ 1

ChulaCov19 ทดลองฉีดในคน – คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ออกมาโพสต์เฟซบุ๊กเปิดเผยถึงความคืบหน้าถึงวัคซีน ChulaCov19 ซึ่งเป็นวัคซีนรุ่นแรกของประเทศไทย โดยทางเพจได้ระบุว่าขณะนี้ได้เริ่มฉีดวัคซีนดังกล่าวกับมนุษย์

โดย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯระบุว่า “วันที่ 14 มิถุนายน 2564 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทดสอบการฉีดวัคซีนให้กับอาสาสมัครผู้ผ่านการคัดกรองที่มีสุขภาพดีระยะที่ 1 และต่อเนื่องในระยะที่ 2 เพื่อดูการตอบสนองของภูมิคุ้มกันต่อวัคซีน ChulaCov19 (จุ-ฬา-คอฟ-ไนน์-ทีน)

ภายใต้การดูแลของทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ พยาบาล ทีมนักวิจัย ณ อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย”

ศ.นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ผู้อำนวยการบริหารโครงการพัฒนาวัคซีนโควิด-19 ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย กล่าวว่า การพัฒนาวัคซีน ChulaCov19 ได้รับการสนับสนุนจากทางภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน อาทิ สถาบันวัคซีนแห่งชาติ, สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), ทุนศตวรรษที่สอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเงินบริจาคจากสมาคมศิษย์เก่าแพทย์จุฬาฯ กองทุนบริจาควิจัยวัคซีน สภากาชาดไทย

วัคซีน ChulaCov19 เป็นการคิดค้นออกแบบและพัฒนาโดยคนไทยจากความร่วมมือสนับสนุนโดยแพทย์นักวิทยาศาสตร์ผู้คิดค้นเทคโนโลยีนี้ของโลกคือ Prof. Drew Weissman มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย วัคซีน ChulaCov19 ผลิตโดยสร้างชิ้นส่วนขนาดจิ๋วจากสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสโคโรนา (โดยไม่มีการใช้ตัวเชื้อแต่อย่างใด) ซึ่งเมื่อร่างกายได้รับชิ้นส่วนของสารพันธุกรรมขนาดจิ๋วนี้เข้าไป จะทำการสร้างเป็นโปรตีนที่เป็นส่วนปุ่มหนามของไวรัสขึ้น (spike protein) และกระตุ้นให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันไว้เตรียมต่อสู้กับไวรัสเมื่อไปสัมผัสเชื้อ เมื่อวัคซีนชนิด mRNA ทำหน้าที่ให้ร่างกายสร้างโปรตีนเรียบร้อยแล้ว ภายในไม่กี่วัน mRNA นี้จะถูกสลายไปโดยไม่มีการสะสมในร่างกายแต่อย่างใด

​ที่ผ่านมาทางศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำการทดลองในลิง และหนู ได้ประสบผลสำเร็จ พบว่า สามารถช่วยยับยั้งไม่ให้เชื้อไวรัสเข้าสู่กระแสเลือดและสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ในระดับสูง จึงนำมาสู่การผลิต และทดสอบทางคลินิกระยะที่ 1ให้กับอาสาสมัครในวันจันทร์ที่ 14 มิถุนายน 2564 เป็นวันแรก โดยแบ่งการทดสอบได้ดังนี้

​การทดสอบในระยะที่ 1 แบ่งออกเป็นสองกลุ่มอายุ จำนวน 72 คน บาคาร่าเว็บตรง